บการเงินสิ้นสุดณ วันที่ 30 กันยายน 2543

14 พฤศจิกายน 2543
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุน 6,596 16,910 2,527 29,447 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินรับจาก (ชำระ) เงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน-สุทธิ (5,229) (30,855) (222) 1,561 เงินรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว 32,544 - 32,544 - ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว (20,332) (49,359) - (28,415) เงินรับจากเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย - - - 8,000 ชำระคืนเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย - - (8,397) (5,412) เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมจัดหาเงิน 6,983 (80,214) 23,925 (24,266) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด(ลดลง)เพิ่มขึ้นสุทธิ (6,033) 49,750 3,339 23,519 ยอดคงเหลือต้นงวด 26,696 20,887 12,811 8,350 ยอดคงเหลือปลายงวด 20,663 70,637 16,150 31,869 ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวดประกอบด้วย เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 52,466 20,887 12,811 8,350 หัก เงินฝากสถาบันการเงินที่บริษัทนำไปค้ำประกัน (25,770) - - - 26,696 20,887 12,811 8,350 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดสิ้นงวดประกอบด้วย เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 36,282 70,637 16,150 31,869 หัก เงินฝากสถาบันการเงินที่นำไปค้ำประกัน (15,619) - - - 20,663 70,637 16,150 31,869 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมระหว่างกาลและงบการเงินระหว่างกาลของบริษัทในหน้า 14 ถึง 33 เป็นส่วนหนึ่งของงบ การเงินระหว่างกาลนี้ บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมระหว่างกาล และงบการเงินระหว่างกาลของบริษัท (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 1 นโยบายการบัญชีที่สำคัญ งบการเงินรวมระหว่างกาลและงบการเงินระหว่างกาลเฉพาะบริษัทได้จัดทำขึ้นตามหลักการการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในประเทศไทย และแสดงโดยใช้รูปแบบย่อตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่องงบการเงินระหว่าง กาล รวมทั้งเพิ่มเติมรายการในงบการเงินพื้นฐานอันได้แก่ งบดุล งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วน ของผู้ถือหุ้น งบกำไรสะสม และงบกระแสเงินสดได้นำเสนอโดยถือตามรูปแบบที่กำหนดไว้ในกฏกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2539) เพื่อให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และข้อบังคับของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในงบการเงินระหว่างกาลนี้ นโยบายการบัญชีที่สำคัญเป็นนโยบายการบัญชีเดียวกับที่ใช้ ในงบการเงินสำหรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 กลุ่มบริษัทได้เริ่มใช้นโยบายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทยที่ประกาศใหม่ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม บริษัท ซึ่งให้ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 - การรวมธุรกิจ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 - งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 - การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 47 - การเปิดเผยข้อมูลของบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ตัวเลขที่นำมาแสดงเปรียบเทียบ ได้มีการปรับปรุงหรือเพิ่มเติมตามความเหมาะสมเพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนด ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ที่ถึงกำหนดปฏิบัติและมีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อประโยชน์ ในการเปรียบเทียบ รายจ่ายที่เกิดขึ้นอย่างไม่สม่ำเสมอในระหว่างงวดปีบัญชีจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชีโดยใช้ เกณฑ์เดียวกับการรับรู้รายจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี ณ วันสิ้นงวดปีบัญชี งบการเงินระหว่างกาลนี้ควรใช้ควบคู่ไปกับงบการเงินสำหรับงวดปีบัญชี พ.ศ. 2542 บริษัทย่อยคือ บริษัทที่บริษัท โนเบิลดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) มีอำนาจในการกำหนดนโยบายทางการเงิน และการดำเนินงานของกิจการเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมต่างๆ ของกิจการนั้น บริษัทย่อยที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมระหว่างกาลมีดังนี้ สัดส่วนการถือหุ้น ทุนที่เรียกชำระแล้ว ทั้งทางตรงและทางอ้อม ธุรกิจหลัก 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 ล้านบาท ล้านบาท ร้อยละ ร้อยละ บริษัท วิภาวิว จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 200.0 200.0 100.00 100.00 บริษัท คอนติเนนตัล ซิตี้ จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 40.0 40.0 100.00 100.00 บริษัท เวิร์ลไทม์ โฮลดิ้ง จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 15.0 15.0 100.00 100.00 บริษัท บางพลีวิว จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 10.0 10.0 100.00 100.00 บริษัท รีเสิร์ช แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 10.0 10.0 65.00 65.00 บริษัท บ้านสุขสบาย จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 2.0 2.0 100.00 100.00 บริษัท เอสแอนด์พี พร้อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 2.0 2.0 100.00 100.00 บริษัท บ้านสยาม จำกัด อสังหาริมทรัพย์ - 102.0 - 100.00 ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานทางธุรกิจ/ทางภูมิศาสตร์ บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประกอบธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อ ขายในประเทศไทย ปัจจุบันรายได้จากส่วนงานอื่นมีจำนวนที่ไม่มีสาระสำคัญต่องบการเงินรวมเพียงพอที่จะนำเสนอ แยกต่างหาก จึงไม่ได้แสดงข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานทางธุรกิจ/ทางภูมิศาสตร์ 2 รายการไม่ปกติที่สำคัญซึ่งรวมอยู่ในกำไร(ขาดทุน)จากการดำเนินงาน รายการไม่ปกติที่รวมอยู่ในการคำนวณกำไร(ขาดทุน)จากการดำเนินงานสำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2542 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 30 กันยายน 30 กันยายน 30 กันยายน 30 กันยายน พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ก. กำไรจากการยกเลิกสัญญา - 51,301 - 5,557 ข. การลดหนี้จากเจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง 22,135 - - - ค. กำไรจากการขายเงินลงทุน 65,895 - 65,895 - ง. กำไรจากการไถ่ถอนหุ้นกู้ - 29,406 - 29,406 จ. ขาดทุนจากการโอนทรัพย์สินตามสัญญา ปรับโครงสร้างหนี้ - 177,370 - 161,920 ฉ. ขาดทุนจากการถูกยึดเงินมัดจำค่าที่ดิน - 32,940 - 32,940 ก. ในปี พ.ศ. 2542 บริษัทและบริษัทย่อยได้ยกเลิกสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุดสำหรับลูกค้าที่เคยรับรู้รายได้จากการขาย และต้นทุนขายไปแล้ว และได้ยึดเงินมัดจำจากลูกค้าจากการยกเลิกสัญญาดังกล่าว ข. การลดหนี้จากเจ้าหนี้ค่าก่อสร้างประกอบด้วย การลดหนี้ จากเจ้าหนี้ค่าก่อสร้างในไตรมาสแรกและในไตรมาสที่สามของปี พ.ศ. 2543 เป็นจำนวนเงิน 17.18 ล้านบาท และ 4.95 ล้านบาท ตามลำดับ ในระหว่างไตรมาสแรกและไตรมาสที่สาม ของปี พ.ศ.2543 เจ้าหนี้ค่าก่อสร้างของบริษัทย่อยได้ตกลงยกเลิกภาระหนี้สินที่บริษัทย่อยจะต้องจ่ายชำระ รวมทั้งเงินประกัน การก่อสร้างเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 19.63 ล้านบาท และ 5.23 ล้านบาท ตามลำดับ เป็นผลให้บริษัทย่อยบันทึกต้นทุนขายลดลง เป็นจำนวนเงิน 15.36 ล้านบาท และ 2.06 ล้านบาท และบันทึกกำไรจากการลดหนี้จากเจ้าหนี้ค่า ก่อสร้างจำนวน 1.82 ล้านบาท และ 2.89 ล้านบาท ค. ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 บริษัทได้ขายเงินลงทุนในบริษัท บ้านสยาม จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 100 รายละเอียดของสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัท บ้านสยาม ณ วันที่จำหน่ายไปได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 11 ง. เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2537 บริษัทได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพไม่ได้จำนวน 500 ล้านบาท มีมูลค่าตราไว้ หุ้นละ 1,000.00 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8.00 ต่อปี มีอายุ 4 ปี จ่ายดอกเบี้ยทุกๆ 6 เดือน ครบกำหนดชำระคืน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ในระหว่างไตรมาสสามของปี พ.ศ. 2542 บริษัทได้ตกลงหักกลบลบหนี้กับผู้ถือหุ้นกู้แปลงสภาพของบริษัทราย หนึ่ง ซึ่งถือหุ้นกู้จำนวน 30.00 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยค้างจ่ายอีกจำนวน 5.37 ล้านบาท โดยเป็นการหักกลบลบ หนี้กับเงินลงทุนของบริษัทในหุ้นกู้ที่ออกโดยผู้ถือหุ้นกู้ดังกล่าว การหักกลบลบหนี้ครั้งนี้เป็นผลทำให้บริษัท เกิดกำไรจำนวน 29.41 ล้านบาท จ. ในระหว่างไตรมาสสามของปี พ.ศ. 2542 บริษัทได้ทำการปรับโครงสร้างหนี้ ทำให้เกิดผลขาดทุนดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท พันบาท พันบาท ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ - ราคาตามบัญชี 331,660 292,720 - ราคาโอนสินทรัพย์ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ (154,290) (130,800) ขาดทุนจากการโอนสินทรัพย์ตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ 177,370 161,920 ฉ. ในปี พ.ศ. 2542 เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจทำให้บริษัทไม่สามารถจ่ายชำระเงินงวดสุดท้ายตามสัญญาจะซื้อที่ดิน ฉบับหนึ่งเมื่อสัญญาครบกำหนดชำระ ดังนั้นบริษัทจึงถูกริบเงินค่ามัดจำเป็นจำนวนเงิน 32.94 ล้านบาท 3 กำไร(ขาดทุน)ต่อหุ้น กำไร(ขาดทุน)ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร(ขาดทุน)สุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักที่ออกและเรียกชำระแล้วในระหว่างงวด (พ.ศ.2543: 91,356,513 หุ้น, พ.ศ. 2542: 55,000,000 หุ้น) 4 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ พันบาท พันบาท ราคาตามบัญชีต้นงวด-สุทธิ - ตามที่รายงานไว้เดิม 230,276 96,895 -รายการปรับปรุงปีก่อน (หมายเหตุ 13) (82,898) (63,271) - ตามที่ได้ปรับใหม่ 147,378 33,624 ซื้อสินทรัพย์ 4,312 4,282 จำหน่ายสินทรัพย์ (648) (17) ขายบริษัทย่อย (หมายเหตุ 11) (25,909) - ค่าเสื่อมราคา (9,197) (5,306) ราคาตามบัญชีสิ้นงวด - สุทธิ 115,936 32,583 5 สินทรัพย์อื่น งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท เงินมัดจำเพื่อการลงทุน 36,000 36,000 36,000 36,000 อื่น ๆ 14,020 21,888 7,685 12,356 รวม 50,020 57,888 43,685 48,356 6 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 191,500 381,458 32,544 - หัก ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี (191,500) (251,460) (32,544) - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - 129,998 - - การเคลื่อนไหวสำหรับเงินกู้ยืมระยะยาวแสดงได้ดังนี้: สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท พันบาท พันบาท มูลค่าตามบัญชีต้นงวด 381,458 - กู้ยืมเพิ่ม 32,544 32,544 จ่ายชำระคืนเงินกู้ยืม (20,332) - ขายหนี้สินของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (หมายเหตุ 11) (202,170) - มูลค่าตามบัญชีปลายงวด 191,500 32,544 เงินกู้ยืมของบริษัทเป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศในสกุลเงินบาท โดยมีระยะเวลาการชำระคืนไม่แน่ นอนโดยจะมีการชำระเป็นสัดส่วนเมื่อบริษัทปลดจำนองโฉนดเพื่อโอนให้แก่ลูกค้า ระยะเวลาครบกำหนดของเงิน กู้ยืมข้างต้นถือตามกำหนดระยะเวลาท้ายสุดของการชำระหนี้เป็นเกณฑ์ เงินกู้ยืมดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยในอัตรา เงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้าชั้นดีบวกร้อยละ 0.25 และมีที่ดินรอการพัฒนาของบริษัทเป็นหลักประกัน 6 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน (ต่อ) เงินกู้ยืมของกลุ่มบริษัทเป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศในสกุลเงินบาท โดยมีระยะเวลาการชำระคืนไม่แน่นอน โดยจะมีการชำระเมื่อบริษัทปลดจำนองโฉนดเพื่อโอนให้แก่ลูกค้า ระยะเวลาครบกำหนดของเงินกู้ยืมข้างต้นถือตามกำหนด ระยะเวลาท้ายสุดของการชำระหนี้เป็นเกณฑ์ เงินกู้ยืมดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.00 - ร้อยละ 9.00 ต่อปี (พ.ศ.2542 :ร้อยละ 5.00 - ร้อยละ 14.50 ต่อปี) และมีที่ดินและสินทรัพย์ที่รวมอยู่ในต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ของบริษัทย่อยเป็นหลักประกัน 7 หุ้นกู้ระยะยาว บริษัทได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพไม่ได้ ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2537 จำนวน 500 ล้านบาท มีมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือน ครบกำหนดชำระคืนเงินต้นใน วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 บริษัทได้จำหน่ายหุ้นกู้แปลงสภาพใหม่เพื่อชำระคืนหุ้นกู้เก่าที่ออกเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2537 และมีผู้ใช้สิทธิแปลงสภาพแล้วจำนวน 425,000 หุ้น (425 ล้านบาท) เป็นหุ้นสามัญ 12.75 ล้านหุ้น ภายหลัง จากการปรับโครงสร้างหนี้ และการหักกลบลบหนี้หุ้นกู้ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 บริษัทยังมีหุ้นกู้เดิมที่ผู้ถือหุ้นกู้มิได้นำมาเปลี่ยนเป็นหุ้นกู้แปลงสภาพใหม่คงเหลือจำนวน 30 ล้านบาท ขณะนี้ผู้ถือหุ้นกู้รายหนึ่งได้มีหนังสือทวงถามบริษัทให้ชำระคืนเงินต้นจำนวน 15 ล้านบาททั้งจำนวน 8 หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 30 กันยายน 31 ธันวาคม 30 กันยายน 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ดอกเบี้ยค้างจ่าย 12,007 97,929 11,900 6,507 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 10,323 7,157 8,045 5,978 อื่น ๆ 25,596 37,469 6,018 6,993 รวม 47,926 142,555 25,963 19,478 9 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นของบริษัทรวมส่วนเกินมูลค่าหุ้นจำนวน 297.5 ล้านบาทที่เกิดขึ้นจากการแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลงสภาพ เป็นหุ้นสามัญของบริษัทจำนวน 12.75 ล้านหุ้นในระหว่างเดือนตุลาคมและธันวาคม พ.ศ.2542 ในปี พ.ศ.2542 บริษัท ได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพจำนวน 425,000 หุ้น เพื่อเป็นการชำระคืนหุ้นกู้เก่าจำนวน 425 ล้านบาท ที่ครบกำหนดไถ่ถอนใน ระหว่างปี พ.ศ. 2541 หุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าว 1 หุ้นสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ 30 หุ้นสามัญ (ราคาแปลง สภาพหุ้นละ 33.33 บาท) บริษัทได้บันทึกการออกและแปลงสภาพหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวโดยบันทึกส่วนต่างของราคาที่ตราไว้ของหุ้นสามัญและราคา แปลงสภาพจำนวนเงินทั้งสิ้น 297.5 ล้านบาท ในบัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ้น อย่างไรก็ตามหากมีการบันทึกรายการดังกล่าว ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 - การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา โดยพิจารณาตามเนื้อหาของการปรับ โครงสร้างหนี้โดยบันทึกราคาของหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายในมูลค่ายุติธรรม จะมีผลทำให้ส่วนเกินมูลค่าหุ้นของบริษัทลดลง จำนวน 297.5 ล้านบาท และส่วนต่ำมูลค่าหุ้นจะเพิ่มขึ้นจำนวน 25.3 ล้านบาททั้งนี้บริษัทจะเกิดกำไรจากการปรับโครง สร้างหนี้ในปี พ.ศ. 2542 เป็นจำนวน 322.8 ล้านบาท และขาดทุนสะสมของบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 และวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 ลดลงในจำนวนที่เท่ากัน อย่างไรก็ตามวิธีการบันทึกบัญชีที่แตกต่างกันดังกล่าวไม่มีผล กระทบต่อส่วนของผู้ถือหุ้นโดยรวมแต่อย่างใด 10 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2542 การกระทบยอดกำไร(ขาดทุน)สุทธิให้เป็นกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับงวด 33,751 (255,059) 33,751 (255,059) ดอกเบี้ยจ่าย 30,889 226,871 6,548 114,761 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (342) (118) - - กำไร(ขาดทุน)ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ 64,298 (28,306) 40,299 (140,298) รายการปรับปรุงเพื่อกระทบยอดกำไร (ขาดทุน) สุทธิให้เป็นเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 10,491 33,922 6,632 20,995 ขาดทุน (กำไร) จากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 628 (377) 10 (377) ตัดจำหน่ายภาษีหัก ณ ที่จ่าย 6,279 - 2,052 - กำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย (65,895) - (65,895) - กำไรจากการลดหนี้จากเจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง (22,135) - - - กำไรจากการยกเลิกสัญญา - (51,301) - (5,557) กำไรจากการไถ่ถอนหุ้นกู้ - (29,406) - (29,406) ขาดทุนจากการถูกยึดเงินมัดจำค่าที่ดิน - 32,940 - 32,940 ขาดทุนจากการโอนทรัพย์สินตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ - 177,370 - 161,920 ส่วนแบ่งผลขาดทุนในบริษัทย่อย - - 5,535 108,484 กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ - (135,811) - (125,618) การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน - เงินลงทุนระยะสั้น 15 (9) 15 (9) - ลูกหนี้การค้า 147 6,640 47 1,664 - มูลค่างานที่เสร็จยังไม่ได้เรียกเก็บ (5,180) 12,213 (9,628) 12,520 - เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจ่ายกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - (17,209) (39,169) - สินค้าคงเหลือ 2,850 - - - - ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 13,295 205,603 3,255 54,288 - งานระหว่างก่อสร้าง-สุทธิ - 4,759 - - - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (9,992) (7,677) (4,535) (3,243) 10 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน (ต่อ) งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท - สินทรัพย์อื่น 893 354 1,305 1,666 - เจ้าหนี้การค้า-ค่าก่อสร้าง 5,288 (30,372) 16,785 (7,224) - เงินสดมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า (1,869) (34,126) 2,053 (8,013) - หนี้สินหมุนเวียนอื่น (3,863) 61,129 1,453 56,975 - หนี้สินอื่น (277) (279) (666) (279) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานก่อนจ่ายดอกเบี้ยและ ภาษีเงินได้ (5,027) 217,266 (18,492) 92,259 เงินสดจ่ายดอกเบี้ย (14,585) (104,212) (4,621) (73,921) กระแสเงินสดจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดำเนินงาน (19,612) 113,054 (23,113) 18,338 11 การขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 บริษัทได้ขายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท บ้านสยาม จำกัด รายละเอียดของสินทรัพย์/หนี้สินสุทธิ ของบริษัทบ้านสยาม ณ วันที่ถูกจำหน่ายออกไป และเงินสดรับจากการขายสรุปได้ดังต่อไปนี้ พันบาท เงินสด 1 ที่ดินรอการพัฒนา 215,552 อาคารและอุปกรณ์, สุทธิ 25,909 สินทรัพย์อื่น 1,102 เงินกู้ยืมระยะยาว (202,170) หนี้สินอื่น (106,089) หนี้สินสุทธิ (65,695) กำไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย 65,895 เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย 200 12 รายการพิเศษ-กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2542 บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท พันบาท พันบาท จำนวนหนี้ก่อนการปรับโครงสร้างหนี้ 336,631 302,948 หัก การชำระหนี้โดย การโอนต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์, การโอนหุ้นทุน จำนวน 1.1 ล้านหุ้น ราคาหุ้นละ 10.00 บาท และ ชำระเป็นเงินสด (200,820) (177,330) กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ 135,811 125,618 13 รายการปรับปรุงของปีก่อน บริษัทได้ปรับปรุงงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ที่นำมาเปรียบเทียบใหม่ เพื่อแสดงถึงผล ของการแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชีของปีก่อน ๆ จากรายการต่อไปนี้ งบดุลรวม งบดุล พันบาท พันบาท รายได้อื่น รายได้อื่น (ค่าใช้จ่าย) (ค่าใช้จ่าย) ก. การตัดจำหน่ายภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - หนี้สิน 92,221 38,231 ข. การด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร (82,898) (63,271) ค. การปรับปรุงตัดจำหน่ายค่าความนิยม (61,777) - ง. ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการถูกริบเงินมัดจำเนื่องจากการผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (26,000) (26,000) จ. การด้อยค่าของสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับเพื่อชำระหนี้ (51,316) (49,369) ฉ. การปรับปรุงตัดจำหน่ายสินทรัพย์ (20,752) (18,121) ช. การปรับปรุงการรับรู้ส่วนแบ่งผลการดำเนินงานในบริษัทย่อยจากการแก้ไข ข้อผิดพลาดทางบัญชีข้างต้น - (31,992) (150,522) (150,522) ก. บริษัทและบริษัทย่อยได้ปรับปรุงกลับรายการภาษีเงินได้รอตัดบัญชีซึ่งบันทึกไว้เป็นหนี้สิน เนื่องจากผลแตกต่างระหว่างกำไร ทางบัญชีและภาษีส่วนใหญ่ไม่มีแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และบริษัทและบริษัทย่อยมีผลขาดทุนทางภาษีติดต่อกันเป็น เวลาหลายปีเป็นจำนวนมาก ข. บริษัทและบริษัทย่อยได้ปรับปรุงบันทึกการด้อยค่าของราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็นจำนวนเงิน 82.9 ล้านบาท เพื่อให้ราคา ตามบัญชีสุทธิของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีราคาเท่ากับราคาที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ ซึ่งได้ประเมินไว้ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542 ค. บริษัทได้ปรับปรุงค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อบริษัทย่อยจำนวน 61.8 ล้านบาท ในระหว่างปี พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2538 เนื่องจากเป็นการคำนวณจากผลต่างระหว่างเงินลงทุนกับมูลค่าตามบัญชีของบริษัทย่อยมิใช่มูลค่าของทรัพย์สินสุทธิตามราคายุติธรรม ของบริษัทย่อย ง. บริษัทได้ปรับปรุงการบันทึกค่าเผื่อผลขาดทุนจากการถูกริบเงินมัดจำเนื่องจากบริษัทมิได้ปฏิบัติตามสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินซึ่งกำหนด ให้บริษัทต้องจ่ายเงินส่วนที่เหลือพร้อมทั้งรับโอนกรรมสิทธิในที่ดินซึ่งครบกำหนดชำระในเดือนเมษายน พ.ศ. 2541 13 รายการปรับปรุงของปีก่อน (ต่อ) จ. บริษัทและบริษัทย่อยได้ปรับค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืนจากการผิดสัญญาจะซื้อจะขายของลูกหนี้ ในงบการเงินรวมและในงบการเงินของบริษัทเป็นจำนวน 30.9 ล้านบาท และ 29.0 ล้านบาท ตามลำดับ และได้ปรับค่าเผื่อ การด้อยค่าจำนวน 20.4 ล้านบาท จากสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับจากผู้ถือหุ้นรายหนึ่งเพื่อชำระเงินที่กู้ยืมจากบริษัท ฉ. บริษัทและบริษัทย่อยได้ปรับปรุงตัดจำหน่ายสินทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วย - ภาษีครึ่งปีจ่ายล่วงหน้า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ที่เกินกำหนดขอคืนจากสรรพากรในงบการเงินรวมและงบการ เงินของบริษัทจำนวน 4.5 ล้านบาท และ 3.4 ล้านบาท ตามลำดับ การตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ เป็นตั๋วสัญญาใช้เงินและดอกเบี้ยค้างรับกับสถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึ่งที่ถูกปิดกิจการตามประกาศกระทรวง (ยังมีต่อ)