การเงินรวมและงบการเงินระหว่างกาลไตรมาส1/2543

16 พฤษภาคม 2543
4 สินทรัพย์อื่น งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท เงินมัดจำเพื่อการลงทุน 36,000 36,000 36,000 36,000 อื่น ๆ 41,014 56,123 16,796 18,434 รวม 77,014 92,123 52,796 54,434 5 เงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ระยะยาว งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท เงินกู้ยืมระยะยาว เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน 368,877 381,458 - - หัก ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี (242,887) (251,460) - - 125,990 129,998 - - ระยะเวลาการครบกำหนดของเงินกู้ยืมระยะยาวมีดังนี้ ภายในหนึ่งปีหรือน้อยกว่า 242,887 251,460 - - ระหว่างหนึ่งถึงสองปี 125,990 129,998 - - 368,877 381,458 - - เงินกู้ยืมระยะยาวเป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศในสกุลเงินบาท โดยมีระยะเวลาการชำระคืนไม่แน่นอน โดยจะมีการชำระเมื่อบริษัทปลดจำนองโฉนดเพื่อโอนให้แก่ลูกค้า ระยะเวลาครบกำหนดของเงินกู้ยืมข้างต้นถือกำหนด ระยะเวลาท้ายสุดของการชำระหนี้เป็นเกณฑ์ เงินกู้ยืมดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.00 - ร้อยละ14.50 ต่อปี (พ.ศ. 2542 : ร้อยละ 5.00 - ร้อยละ 14.50 ต่อปี) และมีที่ดินรอการพัฒนาของบริษัทย่อยเป็นหลักประกัน ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2543 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ครบกำหนดภายในหนึ่งปี รวมเงินกู้ยืมของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง จำนวน 202.2 ล้านบาท ซึ่งผิดนัดชำระหนี้ตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ.2541 และมีดอกเบี้ยค้างจ่ายซึ่งเกิดจากเงินกู้ยืมนี้ซึ่งได้แสดง ภายใต้หนี้สินหมุนเวียนจำนวน 98.6 ล้านบาท เงินกู้ยืมดังกล่าวค้ำประกันโดยที่ดินของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเดียวกัน ซึ่ง บริษัทใหญ่มิได้ให้การค้ำประกันเงินกู้ยืมดังกล่าวแต่อย่างใด หุ้นกู้ระยะยาว หุ้นกู้ระยะยาวจำนวน 30 ล้านบาท เป็นหู้นกุ้ที่ถึงกำหนดชำระคืนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 6 หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ดอกเบี้ยค้างจ่าย 105,518 97,929 6,942 6,507 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 8,503 7,157 6,316 5,978 อื่น ๆ 35,277 37,469 5,709 6,994 รวม 149,298 142,555 18,967 19,479 7 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นของบริษัทรวมส่วนเกินมูลค่าหุ้นจำนวน 297.5 ล้านบาทที่เกิดขึ้นจากการแปลงสภาพของหุ้นกู้แปลง สภาพเป็นหุ้นสามัญของบริษัทจำนวน 12.75 ล้านหุ้นในระหว่างเดือนตุลาคมและธันวาคม พ.ศ.2542 ในปี พ.ศ.2542 บริษัทได้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพจำนวน 425,000 หุ้น เพื่อเป็นการชำระคืนหุ้นกู้เก่าจำนวน 425 ล้านบาทที่ครบกำหนดไถ่ ถอนในระหว่างปี พ.ศ. 2541 หุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าว 1 หุ้นสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้ 30 หุ้นสามัญ (ราคาแปลงสภาพหุ้นละ 33.33 บาท) บริษัทได้บันทึกการออกและแปลงสภาพหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวโดยบันทึกส่วนต่างของราคาที่ตราไว้ของหุ้นสามัญและ ราคาแปลงสภาพจำนวนเงินทั้งสิ้น 297.5 ล้านบาท ในบัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ้น อย่างไรก็ตามหากมีการบันทึกรายการ ดังกล่าวตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34-การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา โดยพิจารณาตามเนื้อหาของ การปรับโครงสร้างหนี้โดยบันทึกราคาของหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายในมูลค่ายุติธรรม จะมีผลทำให้ส่วนเกินมูลค่าหุ้นของบริษัท ลดลงเป็นจำนวน 297.5 ล้านบาท และส่วนต่ำมูลค่าหุ้นจะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 25.3 ล้านบาททั้งนี้บริษัทจะเกิดกำไร จากการปรับโครงสร้างหนี้ในปีพ.ศ.2542 เป็นจำนวน 322.8 ล้านบาท และขาดทุนสะสมของบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 และวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2543 ลดลงในจำนวนที่เท่ากัน อย่างไรก็ตามวิธีการบันทึกบัญชีที่แตกต่างกัน ดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อส่วนของผู้ถือหุ้นโดยรวมแต่อย่างใด 8 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน การกระทบยอดกำไร(ขาดทุน)สุทธิให้เป็นกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับงวด 6,610 (76,203) 6,610 (76,203) ดอกเบี้ยจ่าย 12,982 69,309 2,333 28,860 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (25) (42) - - กำไร(ขาดทุน)ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ 19,567 (6,936) 8,943 (47,343) รายการปรับปรุง กำไรจากการลดหนี้จากเจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง (17,171) - - - ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 3,467 14,708 2,157 10,401 ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (11) (375) (10) (375) ขาดทุนจากการยกเลิกสัญญา - (17,478) - (9,858) ส่วนแบ่งผล(กำไร)ขาดทุนในบริษัทย่อย - - (13,286) 53,113 การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน - เงินลงทุนชั่วคราว 15 (3) 15 (3) - ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้า 35 1,410 47 699 - มูลค่างานที่เสร็จยังไม่ได้เรียกเก็บ 2,331 15,842 (1,114) 7,283 - เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจ่ายกิจการที่ย่อย - - (6,132) (13,130) - สินค้าคงเหลือ 2,850 - - - - ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 7,094 84,459 2,407 35,639 - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (7,771) 3,076 (2,412) 3,898 - สินทรัพย์อื่น 14,678 (1,074) 1,206 (369) - เจ้าหนี้การค้า - ค่าก่อสร้าง (11,199) (2,954) - - - เงินสดมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า (1,401) (8,232) 199 (2,916) - หนี้สินหมุนเวียนอื่น 850 (4,363) (946) (1,395) - หนี้สินอื่น (484) (93) (484) - กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน ก่อนจ่ายดอกเบี้ยและภาษีเงินได้ 12,850 77,987 (9,410) 35,644 เงินสดจ่ายดอกเบี้ย (5,393) (19,401) (1,898) (7,450) กระแสเงินสดจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดำเนินงาน 7,457 58,586 (11,308) 28,194 9 รายการปรับปรุงของปีก่อน บริษัทได้ปรับปรุงงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ที่นำมาเปรียบเทียบใหม่ เพื่อแสดงถึงผลของ การแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชีของปีก่อน ๆ จากรายการต่อไปนี้ งบดุลรวม งบดุล พันบาท พันบาท ก. การตัดจำหน่ายภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - หนี้สิน 92,221 38,231 ข. การด้อยค่าของสินทรัพย์ (82,898) (63,271) ค. การปรับปรุงตัดจำหน่ายค่าความนิยม (61,777) - ง. ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการถูกริบเงินมัดจำเนื่องจากการผิดสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (26,000) (26,000) จ. การปรับปรุงการรับรู้ส่วนแบ่งผลการดำเนินงานในบริษัทย่อยจากการแก้ไข ข้อผิดพลาดทางบัญชีอื่น - (27,414) (78,454) (78,454) ก. บริษัทและบริษัทย่อยได้ปรับปรุงกลับรายการภาษีเงินได้รอตัดบัญชีซึ่งบันทึกไว้เป็นหนี้สิน เนื่องจากผลแตกต่าง ระหว่างกำไรทางบัญชีและภาษีส่วนใหญ่ไม่มีแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และบริษัทและบริษัทย่อยมีผล ขาดทุนทางภาษีติดต่อกันเป็นเวลาหลายปีเป็นจำนวนมาก ข. บริษัทและบริษัทย่อยได้ปรับปรุงบันทึกการด้อยค่าของราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็นจำนวนเงิน 82.9 ล้านบาท เพื่อให้ราคาตามบัญชีสุทธิของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีราคาเท่ากับราคาที่ประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระซึ่งได้ ประเมินไว้ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542 ค. บริษัทได้ปรับปรุงค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อบริษัทย่อยจำนวน 61.8 ล้านบาท ในระหว่างปี พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2538 เนื่องจากเป็นการคำนวณจากผลต่างระหว่างเงินลงทุนกับมูลค่าตามบัญชีของบริษัทย่อยมิใช่มูลค่าของ ทรัพย์สินสุทธิตามราคายุติธรรมของบริษัทย่อย ง. เป็นรายการปรับปรุงบันทึกค่าเผื่อผลขาดทุนจากการถูกริบเงินมัดจำเนื่องจากบริษัทมิได้ปฏิบัติตามสัญญาจะซื้อ จะขายที่ดินซึ่งกำหนดให้บริษัทต้องจ่ายเงินส่วนที่เหลือพร้อมทั้งรับโอนกรรมสิทธิในที่ดินซึ่งครบกำหนดชำระใน เดือนเมษายน พ.ศ. 2541 ทั้งนี้การปรับปรุงข้อผิดพลาดดังกล่าวข้างต้นอาจจะมีผลกระทบต่อการดำเนินงานหลายงวดบัญชี ซึ่งผู้บริหารมี ความเห็นว่าค่าใช้จ่ายในการคำนวณข้อผิดพลาดของแต่ละปีบัญชีจะไม่คุ้มกับข้อมูลที่จะได้รับ ดังนั้นจึงทำการปรับปรุง รายการแก้ไขในข้อผิดพลาดทางบัญชีทั้งหมดในไตรมาสสุดท้ายของปี พ.ศ. 2542 10 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการต่อไปนี้เป็นรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ก) รายได้จากการบริหาร งบการเงินของบริษัท พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท บริษัท เวิร์ลไทม์โฮลดิ้ง จำกัด 108 1,563 บริษัท วิภาวิว จำกัด 92 388 บริษัท บางพลีวิว จำกัด 80 45 บริษัท โนเบิล พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเม้นท์ จำกัด 52 122 รวม 332 2,118 ข) เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจ่ายแก่บริษัทย่อย งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัท บ้านสุขสบาย จำกัด 52,100 51,666 บริษัท รีเสิร์ช แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด 2,860 2,860 รวม 54,960 54,526 เงินทดรองจ่าย บริษัท บ้านสุขสบาย จำกัด 125 - บริษัท รีเสิร์ช แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด 598 534 รวม 723 534 55,683 55,060 10 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ค) เงินลงทุนและเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัท ทุนที่เรียกชำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้น ธุรกิจหลัก 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 ล้านบาท ล้านบาท ร้อยละ ร้อยละ บริษัท วิภาวิว จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 200.0 200.0 100.00 100.00 บริษัท บ้านสยาม จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 102.0 102.0 100.00 100.00 บริษัท คอนติเนนตัล ซิตี้ จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 40.0 40.0 100.00 100.00 บริษัท เวิร์ลไทม์ โฮลดิ้ง จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 15.0 15.0 100.00 100.00 บริษัท บางพลีวิว จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 10.0 10.0 100.00 100.00 บริษัท รีเสิร์ช แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 10.0 10.0 65.00 65.00 บริษัท บ้านสุขสบาย จำกัด อสังหาริมทรัพย์ 2.0 2.0 100.00 100.00 งบการเงินของบริษัท เงินลงทุนราคาทุน เงินลงทุนวิธีส่วนได้เสีย 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท รีเสิร์ช แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด 6,500 6,500 1,829 1,875 บริษัท เวิร์ลไทม์ โฮลดิ้ง จำกัด 60,000 60,000 1,269 - รวมเงินลงทุน 3,098 1,875 10 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย บริษัท วิภาวิว จำกัด 28,345 23,479 บริษัท คอนติเนนตัล ซิตี้ จำกัด 618 676 รวมเงินให้กู้ยืมบริษัทย่อย 28,963 24,155 รวม 32,061 26,030 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยเป็นเงินให้กู้ที่ไม่มีหลักประกันในสกุลเงินบาท ไม่มีกำหนดระยะเวลาชำระคืนที่แน่นอน เงินกู้ดังกล่าวคิดอัตราดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 5.00 ถึง 12.75 ต่อปี (พ.ศ.2542:ร้อยละ 5.00 ถึง 12.75 ต่อปี) ง) เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย บริษัท เวิร์ลไทม์ โฮลดิ้ง จำกัด 7,066 8,035 เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อยเป็นเงินกู้ที่ไม่มีหลักประกันในสกุลเงินบาท ไม่มีกำหนดระยะเวลาชำระคืนที่แน่นอน เงินกู้ยืม ดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 8.25 ต่อปี (พ.ศ. 2542 : ร้อยละ 8.25 ต่อปี) 10 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) จ) ผลขาดทุนที่เกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทย่อยสุทธิ งบการเงินของบริษัท เงินลงทุนราคาทุน เงินลงทุนวิธีส่วนได้เสีย 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท บริษัท วิภาวิว จำกัด 198,493 198,493 (79,185) (83,110) หัก เงินทดรองจ่ายและเงินให้กู้ยืม 79,185 83,110 สุทธิ - - บริษัท บ้านสยาม จำกัด 102,000 102,000 (337,976) (326,194) หัก เงินทดรองจ่ายและเงินให้กู้ยืม 254,541 250,538 สุทธิ (83,435) (75,656) บริษัท เวิร์ลไทม์ โฮลดิ้ง จำกัด 60,000 60,000 - (21,676) หัก เงินทดรองจ่ายและเงินให้กู้ยืม - - สุทธิ - (21,676) บริษัท คอนติเนนตัล ซิตี้ จำกัด 42,783 42,783 (4,549) (4,428) หัก เงินทดรองจ่ายและเงินให้กู้ยืม 4,549 4,428 สุทธิ - - บริษัท บางพลีวิว จำกัด 12,963 12,963 (85,380) (84,246) หัก เงินทดรองจ่ายและเงินให้กู้ยืม 61,735 65,352 สุทธิ (23,645) (18,894) 10 รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) งบการเงินของบริษัท เงินลงทุนราคาทุน เงินลงทุนวิธีส่วนได้เสีย 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท บริษัท บ้านสุขสบาย จำกัด 1,000 1,000 (24,217) (23,718) หัก เงินทดรองจ่ายและเงินให้กู้ยืม 24,217 23,718 สุทธิ - - รวมผลขาดทุนที่เกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย (107,080) (116,226) 11 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินของบริษัท 31 มีนาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2542 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องใช้เงินทุนเพื่อการพัฒนาโครง การต่อไปจนแล้วเสร็จ 1.60 5.23 - - ภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องจ่ายชำระค่าที่ดินจนครบ - 4.50 - 4.50 1.60 9.73 - 4.50 ภาระหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการค้ำประกันที่เกี่ยวข้องกับ เงินกู้เพื่อการซื้อบ้านของลูกค้าของบริษัทและบริษัทย่อย 11.72 11.72 11.72 11.72 ภาระหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นเนื่องจากการให้ธนาคาร ค้ำประกัน 11.45 11.50 7.97 7.97 23.17 23.22 19.69 19.69