บการเงินสำหรับงวดสามเดือนและเก้าเดือนสิ้นสุด30กันยายน2541

17 November 1998
"ยังไม่ได้ตรวจสอบ" "สอบทานแล้ว" -2- หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ หมายเหตุ 2541 2540 2541 2540 ขาดทุนสุทธิ (62,995) (257,649) (62,277) (257,796) (กำไร)ขาดทุนสุทธิส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 718 (147) - - ขาดทุนสุทธิส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ (62,277) (257,796) (62,277) (257,796) กำไร(ขาดทุน)สะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร - ต้นงวด (108,777) 402,295 (108,777) 402,295 หัก กำไรสะสมที่จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย - 857 - 857 กำไร(ขาดทุน)สะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร - สิ้นงวด (171,054) 145,356 (171,054) 145,356 ========== ========== ========== ========= ขาดทุนต่อหุ้น (บาท) : ขาดทุนก่อนรายการพิเศษ (1.14) (2.60) (1.14) (4.69) รายการพิเศษ - (2.69) - (0.60) ขาดทุนสุทธิ (1.14) (5.29) (1.14) (5.29) ========== ========== ========== ========= หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินระหว่างกาลนี้ "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย "สอบทานแล้ว" งบกำไรขาดทุนและกำไร(ขาดทุน)สะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ หมายเหตุ 2541 2540 2541 2540 รายได้ ขาย 279,174 451,594 70,861 94,199 รายได้จากการรับสร้างบ้าน 23,022 32,368 8,866 8,419 รายได้จากการขายและบริการ 2,642 4,806 - - รายได้อื่น รายได้จากการจัดการธุรกิจ - - 7,587 2,897 กำไรจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ 75,526 - - - ดอกเบี้ยรับ 12,321 10,599 55,445 46,908 อื่น ๆ 10,731 4,837 4,500 1,272 รวมรายได้ 403,416 504,204 147,259 153,695 ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย 346,085 333,834 88,261 82,351 ต้นทุนรับสร้างบ้าน 34,712 31,120 13,323 8,730 ต้นทุนขายและบริการ 1,364 4,999 - - ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 79,110 87,096 50,784 58,913 ขาดทุนจากการยกเลิกสัญญา 13 12,601 81,016 12,982 28,837 ส่วนแบ่งในขาดทุนของบริษัทย่อย - วิธีส่วนได้เสีย - - 43,974 135,840 ดอกเบี้ยจ่าย 57,386 42,310 63,137 50,325 รวมค่าใช้จ่าย 531,258 580,375 272,461 364,996 ขาดทุนก่อนภาษีเงินได้และก่อนรายการพิเศษ (127,842) (76,171) (125,202) (211,301) ภาษีเงินได้ - (33,135) - - ขาดทุนก่อนรายการพิเศษ (127,842) (109,306) (125,202) (211,301) รายการพิเศษ - ผลขาดทุนจากการใช้ระบบ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราแบบลอยตัว (หักภาษีเงินได้ 6,223,915.80 บาท แล้ว ในงบการเงินรวม) 14 - (131,486) - (29,345) .../2 "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" "สอบทานแล้ว" -2- หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ หมายเหตุ 2541 2540 2541 2540 ขาดทุนสุทธิ (127,842) (240,792) (125,202) (240,646) ขาดทุนสุทธิส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 2,640 146 - - ขาดทุนสุทธิส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ (125,202) (240,646) (125,202) (240,646) กำไร(ขาดทุน)สะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร - ต้นงวด (45,852) 386,002 (45,852) 386,002 กำไร(ขาดทุน)สะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร - สิ้นงวด (171,054) 145,356 (171,054) 145,356 ========== ========== ========== ========= ขาดทุนต่อหุ้น (บาท) : ขาดทุนก่อนรายการพิเศษ (2.28) (2.23) (2.28) (4.32) รายการพิเศษ - (2.69) - (0.60) ขาดทุนสุทธิ (2.28) (4.92) (2.28) (4.92) ========== ========== ========== ========= หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาลถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินระหว่างกาลนี้ "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย "สอบทานแล้ว" หมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล วันที่ 30 กันยายน 2541 และ 2540 1. เรื่องทั่วไป บริษัทฯ ได้รับอนุมัติจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการรับหุ้นสามัญของบริษัทฯ เป็น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2539 และเริ่มทำการ ซื้อ - ขาย ในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2540 2. การแสดงรายการในงบการเงินระหว่างกาล งบการเงินระหว่างกาลนี้ ได้จัดทำขึ้นตามข้อกำหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2539)เรื่อง แบบงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุนของบริษัทมหาชนจำกัด ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2539 ออกตามความใน พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2535 3. สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ 3.1 หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินระหว่างกาลรวม งบการเงินระหว่างกาลรวมของบริษัทฯ ได้รวมงบการเงินระหว่างกาลของบริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และของบริษัทย่อย ที่บริษัทฯถือหุ้นทั้งโดย ทางตรงและทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของทุนที่ออกจำหน่าย หลังจากได้ตัดยอดคงเหลือ และรายการระหว่างกันที่มีนัยสำคัญออกแล้ว บริษัทฯ มีบริษัทย่อย 8 แห่ง โดยถือหุ้นร้อยละ 64.9 และ ร้อยละ 99.9 ซึ่ง ในการทำงบการเงินระหว่างกาลรวมถือเป็นร้อยละ 65 และ ร้อยละ 100 ตามลำดับ ได้แก่ ลักษณะของธุรกิจ ถือหุ้นร้อยละ บริษัท บางพลีวิว จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.99 บริษัท บ้านสุขสบาย จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.98 บริษัท บ้านสยาม จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.99 บริษัท วิภาวิว จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.99 บริษัท คอนติเนนตัล ซิตี้ จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.99 บริษัท เวิร์ลไทม์โฮลดิ้ง จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.99 บริษัท เอส แอนด์ พี พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเมนท์ จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 99.99 (เดิมชื่อ บริษัท โนเบิล พร็อพเพอร์ตี้ แมเนจเมนท์ จำกัด) บริษัท รีเสิร์ช แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ 64.99 ราคาทุนรวมของเงินลงทุนในบริษัทย่อยของบริษัทฯ สูงกว่ามูลค่าสินทรัพย์สุทธิ ตามบัญชีบริษัทย่อย ณ วันซื้อ ซึ่งส่วนเกินดังกล่าว ได้แสดงในบัญชีค่าความนิยมในงบดุลรวม และตัดจำหน่ายภายในระยะเวลา 10 ปี "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" "สอบทานแล้ว" 3.2 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายอาคารชุด ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง และรายได้จากการ รับสร้างบ้าน บันทึกรายได้เมื่อได้มีการทำสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว ตามเกณฑ์อัตราร้อยละ ของงานพัฒนาที่ทำเสร็จ เงินค่างวดที่ถึงกำหนดชำระตามสัญญาส่วนที่ยังไม่ได้รับชำระ แสดงไว้เป็น "ลูกหนี้การค้า" งานพัฒนาที่ทำเสร็จส่วนที่เกินกว่าหรือต่ำกว่าเงินค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ ตามสัญญาแสดงไว้เป็น "มูลค่างานที่เสร็จยังไม่ได้เรียกเก็บ" หรือ "ค่างวดที่ยังไม่รับรู้ เป็นรายได้" ตามลำดับ ในงบดุลรวม รายได้จากการขายและการให้บริการ ถือเป็นรายได้เมื่อได้ส่งมอบสินค้าและได้ให้ บริการแล้ว 3.3 ต้นทุนขายและต้นทุนรับสร้างบ้าน ต้นทุนขายและต้นทุนรับสร้างบ้าน รวมการปันส่วนต้นทุนที่ดิน ต้นทุนการพัฒนาและ ค่าก่อสร้างทั้งหมดที่คาดว่าจะเกิดขึ้นให้กับหน่วยในโครงการ คำนวณตามอัตราส่วนของ การรับรู้รายได้ที่ถือตามเกณฑ์อัตราร้อยละของงานพัฒนาที่ทำเสร็จ 3.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ - เครื่องจักร แสดงในราคาทุน (วิธีเข้าก่อน - ออกก่อน) หรือ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า วัสดุก่อสร้างคงคลัง แสดงในราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่) หรือมูลค่าสุทธิที่ จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" "สอบทานแล้ว" 3.5 ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ แสดงตามราคาทุน ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุนในการ ได้มาซึ่งที่ดิน การพัฒนาที่ดิน ต้นทุนการก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายและค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับโครงการ 3.6 งานระหว่างก่อสร้าง งานระหว่างก่อสร้าง แสดงตามราคาทุน ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุนการก่อสร้าง ต้นทุนดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ค่าบริหารโครงการ และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โครงการ 3.7 การบันทึกดอกเบี้ยเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ บริษัทฯ บันทึกดอกเบี้ยเงินกู้ยืม เพื่อใช้ในการซื้อที่ดินและพัฒนาที่ดินเพื่อขาย เป็น ส่วนหนึ่งของต้นทุนที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเพื่อขาย ซึ่งจะหยุดบันทึกดอกเบี้ยเป็นต้นทุนเมื่อที่ดิน และการพัฒนาที่ดินเพื่อขายดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์พร้อมที่จะใช้ในการประกอบการ ยกเว้นในปี 2541 ในงบการเงินระหว่างกาลรวม บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้หยุดบันทึกดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อ ใช้ในการพัฒนาที่ดินเพื่อขาย เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนค่าพัฒนาที่ดินเพื่อขายไปเป็นค่าใช้จ่าย รอการตัดบัญชี เนื่องจากการพัฒนาที่กำลังดำเนินอยู่หยุดชะงักลง 3.8 เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกันบันทึกตามวิธีส่วนได้เสีย ส่วนเงินลงทุนในบริษัทอื่น แสดงในราคาทุน 3.9 ที่ดินรอการพัฒนา ที่ดินรอการพัฒนา แสดงตามราคาทุน ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุนในการได้มาซึ่งที่ดิน ดอกเบี้ยเงินกู้ที่เกี่ยวข้องกัน และต้นทุนอื่นที่เกี่ยวข้องกัน 3.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ แสดงในราคาทุน ค่าเสื่อมราคา คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์เป็น ระยะเวลา 5 - 20 ปี "ยังไม่ได้ตรวจสอบ" "สอบทานแล้ว" 3.11 ค่าใช้จ่ายก่อนการดำเนินงานและค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายก่อนการดำเนินงาน และค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ตัดบัญชีโดยวิธีเส้นตรง เป็นเวลา 1 - 5 ปี 3.12 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯ ถือเป็นหลักปฏิบัติ ตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ในการบันทึกรอการ ตัดบัญชีภาษีเงินได้ที่เกิดจากการรับรู้รายได้ ซึ่งมีความแตกต่างด้านเวลาของรายการ ทางการเงินและทางภาษีอากร ผลแตกต่างนี้เกิดจากทางบัญชีรับรู้รายได้ตามเกณฑ์อัตรา ร้อยละของงานพัฒนาที่ทำเสร็จ ในขณะที่ทางภาษีอากรรับรู้รายได้ตามจำนวนเงินค่างวดที่ ถึงกำหนดชำระตามสัญญา 3.13 รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างงวด แปลงค่าเป็นเงินบาทโดย ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ ส่วนสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุลรวม แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุลรวมที่ ธนาคารพาณิชย์รับซื้อและขาย ณ วันสิ้นงวด กำไรหรือขาดทุนดังกล่าวได้รวมอยู่ในงบกำไร ขาดทุนรวมแล้ว 3.14 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ ได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพใหม่ขึ้นในเดือนตุลาคม 2537 โดยพนักงาน จ่ายเงินสะสมในอัตราที่แน่นอนจากเงินเดือน และบริษัทฯ จ่ายสมทบอีกส่วนหนึ่งในอัตรา ตามอายุการทำงานของพนักงานแต่ละคนเพื่อเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยให้สถาบัน การเงินในประเทศแห่งหนึ่งเป็นผู้จัดการกองทุน ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530 3.15 ขาดทุนต่อหุ้น ขาดทุนต่อหุ้น คำนวณโดยการหารขาดทุนสุทธิด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ ออกจำหน่ายแล้ว (ยังมีต่อ)